ใบงานที่ 3

ใบงานที่ 3

มาตรฐานงานเขียนแบบ

  1. มาตรฐาน หมายความว่าอะไร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2. กระดาษที่ใช้ในการเขียนแบบมีลักษณะอย่างไรและมีขนาดอะไรบ้าง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

3. เส้นเต็มหนาคือ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. เส้นประ คือ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. เส้นศูนย์กลางหนา คือ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. เส้นมือเปล่า คือ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความรู้ที่ 3

ใบความรู้ที่ 3

เรื่อง  มาตรฐานงานเขียน

ความหมายของมาตรฐาน

มาตรฐาน  มายถึง ข้อกำหนดหรือข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้ผลิต และผู้ใช้เพื่อสร้างความเข้าใจให้ตรงกันเกี่ยวกับ ขนาด รูปร่าง น้ำหนัก และส่วนผสมของวัสดุอย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำการผลิตขึ้นจากแหล่งผลิตต่าง ๆ ให้มีคุณสมบัติ และคุณภาพเหมือนกันสามารถนำมาใช้สับเปลี่ยนทดแทนกันได้

มาตรฐานในการเขียนแบบ

  1. 1. กระดาษ (PAPER)

กระดาษเขียนแบบเป็นวัสดุในงานเขียนแบบ ใช้สำหรับบันทึกรูปภาพ  ชิ้นส่วน หรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่วิศวกร

ออกแบบคิดขึ้น เพื่อถ่ายทอดความคิดไปให้ช่างเทคนิคผลิตงานตรงแบบได้ถูกต้อง กระดาษสำหรับเขียนแบบที่ใช้งานมี 2 ชนิด คือ กระดาษธรรมดา และกระดาษไข (สำหรับนำไปถ่ายพิมพ์เขียว) เพื่อให้กระดาษเขียนแบบเป็นมาตรฐานสากล และสะดวกแก่ผู้ผลิต และผู้ใช้จึงได้มีการกำหนดขนาดมาตรฐานกระดาษเขียนแบบขึ้น โดยคิดจากพื้นที่ของกระดาษ 1 ตารางเมตร โดยการใช้เครื่องหมาย A เป็นตัวกำหนด วึ่งความกว้าง และความยาวของกระดาษจะเป็นอัตราส่วน 1 :   2

ขนาดมาตรฐาน

ขนาดของกระดาษ

A1 594 X 841
A2 420 X 594
A3 297 X 420
A4 148 X 210

A1

A2

A3 A4
A4

1.1 การติดกระดาษ

ในการติดกกระดาษจะต้องติดกระดาษลงบนกกระดานเขียนแบบให้แบนสนิท  โดยใช้เทปกาวควรวางตำแหน่งของกระดาษเขียนแบบให้ใกล้กับขอบทางซ้ายมือของกระดานเขียนแบบ เพื่อให้เกิดระยะผิดพลาดจากการเขียนแบบน้อยที่สุด

ภาพที่ 3.1 การติดกระดาษเขียนแบบ

1.2 การตีกรอบและตารางรายการ

กระดาษเขียนแบบต้องตีกรอบกระดาษ และตารางรายการเพื่อใช้เขียนข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ สำหรับแบบ

งาน  โดยตีตารางรายการไว้มุมด้านล่างของกระดาษเขียนแบบ

ชื่อ ชื่องาน
ชั้น แบบ

ภาพที 3.2 ลักษณะการตีกรอบกระดาษเขียนแบบ

  1. 2. เส้น (LINE)

เส้นที่ใช้เขียนแบบงานแต่ละเส้นมีความหมายเฉพาะตัว  ซึ่งจะบอกถึงลักษณะงานและทำให้การเขียน

แบบสมบูรณ์ เส้นที่ใช้ในการเขียนแบบกำหนดความหนาของเส้นตามระบบ ISO ซึ่งกำหนดเป็นมาตรฐานสากล เหมาะสำหรับเขียนแบบเพื่อนำไปถ่ายเป็นไมโครฟิล์ม เพราะเมื่อถ่ายแบบออกมาจากไมโครฟิล์มไม่ว่าจะย่อหรือขยาย มาตรฐานความหนาของดส้นจะไม่เปลี่ยนแปลง ความหนาของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ จะเพิ่มขึ้นตามอนุกรมก้าวหน้าเรขาคณิตของ   2  คือ 0.13, 0.18,0.25,0.5,0.7,1.0,1.1 มิลลิเมตร  ตามลำดับ

2.1 เส้นเต็มหนา เป็นเส้นที่ลากติดต่อกันมีหลายลักษณะ เช่น เส้นตรง เส้นโค้ง ใช้แสดงเส้นขอบรูป

ภาพที่ 3.3  ลักษณะของเส้นเต็มหนา

2.2  เส้นเต็มบาง เป็นเส้นที่ลากติดต่อกัน ใช้เขียนเพื่อช่วยบอกขนาดงาน และแสดงลายตัด

ภาพที่ 3.4  ลักษณะของเส้นเต็มบาง

2.3  เส้นประ เป็นเส้นที่ขีด 4 มม. เว้น 1  มม. ขีด  4  มม.  ใช้เขียนเพื่อแสดงรูปงานที่ถูกบังหรือมองไม่เห็น

ภาพที่ 3.5  ลักษณะของเส้นประ

2.4 เส้นศูนย์กลางหนา เป็นเส้นที่ลากยาว  7  มม.  เว้น  1  มม.  ขีดเส้น  7  มม.  ใช้เขียนเพื่อแสดงแนวตัด

ภาพที่ 3.6  ลักษณะของเส้นศูนย์กลางหนา

2.4  เส้นศูนย์กลางบาง เป็นเส้นที่ลาก 10 มม. เว้น 1 มม.  ขีด 1 มม. ใช้เขียนเพื่อแสดงแนวเส้นศูนย์กลาง

หรือชิ้นงานที่เคลื่อนไหว

ภาพที่ 3.7  ลักษณะเส้นที่ใช้แสดงการตัดศูนย์กลางบาง

2.5  เส้นมือเปล่า เป็นเส้นที่ใช้แสดงการตัดเฉพาะส่วน

ภาพที่ 3.8 ลักษณะของเส้นมือเปล่า

ใบงานที่2

ใบงานที่ 2

เครื่องมือเขียนแบบ

ศึกษาใบความรู้ที่ 2 เรื่อง เครื่องมือเขียนแบบ

¨    จงเขียนเส้นตามที่กำหนดให้โดยใช้ไม้ทีและบรรทัดสามเหลี่ยม ลงในกระดาษที่แจกให้

  1. การเขียนเส้นนอน
  2. การเขียนเส้นดิ่ง
  3. การเขียนเส้นเอียง 45 องศา
  4. การเขียนเส้นเอียง 30 องศา
  5. การเขียนเส้นเอียง 60 องศา
  6. การเขียนวงกลมด้วยวงเวียน

ใบงานที่1

ใบงานที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนแบบ

สมาชิกกลุ่มที่……………..

1…………………………………………….4……………………………………………….

2…………………………………………….5……………………………………………….

3…………………………………………….6……………………………………………….

ศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนแบบ

1.การเขียนแบบ (Technical Drawing) หมายความว่าอะไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2.การเขียนแบบมีด้วยกันหลายอย่าง แต่ถ้าจะแบ่งตามลักษณะของงาน สามารถแบ่งออกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

3.ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของการเขียนแบบคือใคร เพราะเหตุใด

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

4.เรานำการเขียนแบบไปใช้งานอย่างไรบ้าง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

5. การเขียนแบบ DETAIL DRAWING เป็นการเขียนแบบอย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

6. จงอธิบายความสำคัญของการเขียนแบบ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..